การลงทุนในสินทรัพย์กลุ่ม Property Fund & REITs

นับตั้งแต่ในช่วงปลายเดือน มี.ค. 2020 ราคาสินทรัพย์กลุ่ม Property Fund & REITs ได้มีการปรับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังปรับตัวลดลงในช่วงปลายเดือน ก.พ.- ต้นเดือน มี.ค. 2020 จากความกังวลของนักลงทุนที่มีต่อสถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19 โดยในเดือน เม.ย. 2020 ดัชนี FTSE ST Real Estate Investment Trusts Index (สิงคโปร์) ปรับตัวเพิ่มขึ้น 6.09% และ SETPREIT Index (ไทย) ปรับตัวเพิ่มขึ้น 16.81% โดยทั้งสองดัชนียังคงมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องกว่า 5 % ในเดือน พ.ค. 2020 (Source: Bloomberg)

test

การปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคา REITs ที่รวดเร็วนี้ส่งผลให้นักลงทุนเกิดคาถามว่า การลงทุนในสินทรัพย์กลุ่ม Property Fund & REITs ยังเป็นการลงทุนที่มีศักยภาพที่ดีอยู่หรือไม่ และปัจจัยใดที่จะสามารถขับเคลื่อนให้ราคาสินทรัพย์กลุ่ม Property Fund & REITs สามารถปรับตัวเพิ่มขึ้นต่อจากนี้ได้

ทางบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน พรินซิเพิล (บลจ. พรินซิเพิล) พบว่า แม้ราคาสินทรัพย์กลุ่ม Property Fund & REITs จะปรับตัวเพิ่มขึ้นมากในช่วงที่ผ่านมา แต่การปรับตัวเพิ่มขึ้นครั้งนี้นับเป็นเพียงการ Rebound ของราคาสินทรัพย์หลังสัญญาณความเชื่อมั่นของนักลงทุนที่มีต่อการลงทุนใน Property Fund & REITs เริ่มกลับมามีแนวโน้มที่ดีขึ้น แต่ราคาสินทรัพย์กลุ่มนี้นับว่ายังต่ำกว่าในช่วงต้นปีราว 7-8 % ในขณะเดียวกัน หากมองในด้านอัตราเงินปันผลจากการลงทุน และส่วนชดเชยความเสี่ยง (ที่มากกว่าการลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล 10 ปี) นั้นก็ยังนับว่าอยู่ในเกณฑ์ที่น่าสนใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านของส่วนชดเชยความเสี่ยงที่ยังคงสูงกว่าค่าเฉลี่ย

test

 

test

กลยุทธ์การลงทุน

แต่ใช่ว่าสินทรัพย์กลุ่ม Property Funds & REITs ในทุกกลุ่มอุตสาหกรรม และทุกสถานที่จะสามารถเติบโตได้ดี มีคุณภาพ หรือมีเสถียรภาพที่เท่ากันเสมอไป ดังนั้นการเลือกลงทุนในสินทรัพย์ที่ดีจึงเป็นเรื่องที่สาคัญ โดยกลยุทธ์ของการบริหารกองทุนรูปแบบ Property Funds & REITs ของทาง บลจ. พรินซิเพิลนั้น จะเน้นที่การเลือกลงทุนในสินทรัพย์รายตัว ซึ่งมีอัตราการเช่าสูง มีอัตราส่วนหนี้ต่อทุนต่ำ และมีศักยภาพในการเติบโตที่ดีหรือมีเสถียรภาพสูง ทำให้วิธีการบริหารกองทุนสินทรัพย์กลุ่ม Property Funds & REITs ของ บลจ. พรินซิเพิล

จึงมีลักษณะเชิง Active but Conservative ส่งผลดีต่อการลงทุนในภาวะที่ตลาดมีความผันผวน ซึ่งอาจสังเกตได้จากผลตอบแทนของพอร์ตการลงทุนของทั้งกองทุน Principal Property Income Fund (PRINCIPAL iPROP) (กองทุนนี้ลงทุนกระจุกตัวในกลุ่มอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์ (Property Sector Fund) ดังนั้นหากมีปัจจัยลบที่ส่งผลกระทบต่อการลงทุน ดังกล่าวผู้ลงทุนอาจสูญเสียเงินลงทุนจานวนมาก) และกองทุน Principal Enhanced Property and Infrastructure Flex Income Fund (PRINCIPAL iPROPEN) ที่สามารถสร้างผลตอบแทนนับแต่ต้นปี และผลตอบแทนในเดือน พ.ค. 2020 ได้ดีกว่าดัชนีอ้างอิง

test

test


*ดัชนีอ้างอิงของกองทุน PRINCIPAL iPROP คือ SET PF&REIT TRI Index 50% + FSTREI TRI Index (THB) 25% + FSTREI TRI Index adjusted with FX hedging cost 25% และ ดัชนีอ้างอิงของกองทุน PRINCIPAL iPROPEN คือ SET PF&REIT TRI Index 21% + FSTREI TRI Index (THB) 10% + FSTREI TRI Index adjusted with FX hedging cost 10% + AS51PROT Index (THB) 15% + AS51PROT Index adjusted with FX hedging cost 15% + TREITNTR Index (THB) 10% + TREITNTR Index adjusted with FX hedging cost 10% + HSI 33 Index (THB) 4.5% + HSI 33 Index adjusted with FX hedging cost 4.5%

ทั้งนี้ สาหรับกลุ่มอุตสาหกรรมที่เน้นลงทุนในปัจจุบันของ Property Funds & REITs ที่ บลจ. พรินซิเพิล เน้นลงทุนจะอยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมที่ได้รับประโยชน์จากแนวโน้มการเติบโตของกิจกรรมออนไลน์ เช่น Data Centers โครงสร้างพื้นฐาน และ REITs ในกลุ่ม Logistics ซึ่งได้รับประโยชน์อย่างมากจากการเติบโตของ e-commerce เป็นต้น

test

test

 

test

อ่านบทความฉบับเต็มที่นี่

แนะนำหัวข้อที่น่าสนใจ
วางแผนลดหย่อนภาษี ปี 2566 กองทุน SSF RMF

คำเตือน
กองทุน PRINCIPAL iPROP
• การลงทุนในหน่วยลงทุน มิใช่การฝากเงิน และมีความเสี่ยงของการลงทุน ผู้ลงทุนอาจได้รับเงินลงทุนคืนมากกว่าหรือน้อยกว่าเงินลงทุนเริ่มแรกก็ได้ ดังนั้น ผู้ลงทุนควรลงทุนในกองทุนนี้ เมื่อเห็นว่าการลงทุนในกองทุนรวมนี้ เหมาะสมกับวัตถุประสงค์การลงทุนของผู้ลงทุน และผู้ลงทุนยอมรับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการลงทุนได้
• ในสถานการณ์ไม่ปกติ ผู้ถือหน่วยลงทุนอาจไม่สามารถขายคืนหน่วยลงทุน หรืออาจได้รับชำระค่าขายคืนหน่วยลงทุนล่าช้ากว่าระยะเวลาที่กาหนดไว้ใน หนังสือชี้ชวน
• ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลในหนังสือชี้ชวนให้เข้าใจและควรเก็บหนังสือชี้ชวนไว้เป็นข้อมูล เพื่อใช้อ้างอิงในอนาคต และเมื่อมีข้อสงสัยให้สอบถามผู้ติดต่อกับผู้ลงทุนให้เข้าใจก่อนซื้อหน่วยลงทุน
• ผู้ลงทุนควรทาความเข้าใจลักษณะสินค้า(กองทุนรวม) เงื่อนไข ผลตอบแทนและความเสี่ยงก่อนตัดสินใจลงทุน
• เอกสารฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการเผยแพร่ข้อมูลเป็นการทั่วไป โดยไม่มุ่งหมายให้ถือเป็นคาเสนอหรือการเชิญชวนให้บุคคลใดทำการซื้อ และ/หรือ ขายผลิตภัณฑ์ด้านการลงทุนประเภทต่าง ๆ ตามที่ปรากฏในเอกสารฉบับนี้ และไม่ถือเป็นการให้คาปรึกษาหรือคำแนะนำเกี่ยวกับการทาธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ด้านการลงทุนของบริษัทต่าง ๆ ตามที่ระบุไว้ในเอกสารนี้แต่อย่างใด
• เนื่องจากกองทุนมีนโยบายลงทุนในต่างประเทศ กองทุนอาจมีความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน ผู้ลงทุนอาจขาดทุนหรือได้รับกาไรจากอัตราแลกเปลี่ยน/หรือได้รับเงินคืนต่ำกว่าเงินลงทุนเริ่มแรกได้
• การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ โดยกองทุนอาจลงทุนในสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (Derivatives) เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ที่อาจเกิดขึ้นได้จากการลงทุนในต่างประเทศตามความเหมาะสมและสภาวการณ์ในแต่ละขณะขึ้นอยู่กับดุลยพินิจที่ผู้จัดการกองทุนเห็นเหมาะสม ซึ่งกองทุนอาจได้รับผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนหรือได้รับเงินคืนต่ำกว่าเงินลงทุนเริ่มแรกได้

กองทุน PRINCIPAL iPROPEN
• เนื่องจากกองทุนเน้นลงทุนในหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ และ/หรือทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ (REITs) และ/หรือกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งกองทุนดังกล่าวมีความเสี่ยงในลักษณะเดียวกับการลงทุนในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์หรือโครงสร้างพื้นฐานโดยตรง เช่น ความเสี่ยงจากความผันแปรของค่าเช่าและอัตราการเช่า การเพิ่มขึ้นของภาษีทรัพย์สิน การเปลี่ยนแปลงของกฎหมายหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม ความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ ค่าเสื่อมราคาของอาคารเมื่อเวลาผ่านไป และการเพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ย เป็นต้น รวมถึงความเสี่ยงจากการกระจุกตัวอาจทาให้มีความผันผวนมากกว่าการลงทุนที่กระจายการลงทุนในหลายอุตสาหกรรม
• กองทุนรวมนี้ลงทุนกระจุกตัวในประเทศแถบเอเชีย ผู้ลงทุนจึงควรพิจารณาการกระจายความเสี่ยงของพอร์ตการลงทุนโดยรวมของตนเองด้วย
• เนื่องจากกองทุนมีนโยบายลงทุนในต่างประเทศ กองทุนอาจมีความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน ผู้ลงทุนอาจขาดทุนหรือได้รับกาไรจากอัตราแลกเปลี่ยน/หรือได้รับเงินคืนต่ำกว่าเงินลงทุนเริ่มแรกได้
• กองทุนอาจลงทุนในสัญญาซื้อขายล่วงหน้าเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ตอบแทน (Efficient Portfolio Management) และเพื่อป้องกันความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ที่อาจเกิดขึ้นได้จากการลงทุนในต่างประเทศตามความเหมาะสมและสภาวการณ์ในแต่ละขณะขึ้นอยู่กับดุลยพินิจที่ผู้จัดการกองทุนเห็นเหมาะสม โดยพิจารณาจากสภาวะตลาดในขณะนั้น กฎข้อบังคับ และปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น ทิศทางของราคาหลักทรัพย์ อัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน และค่าใช้จ่ายในการป้องกันความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง จึงมีความเสี่ยงมากกว่ากองทุนรวมอื่นและกองทุนอาจได้รับผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนหรือได้รับเงินคืนต่ำกว่าเงินลงทุนเริ่มแรกได้
• กองทุนอาจลงทุนในหรือมีไว้ซึ่งสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ที่มิได้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดความเสี่ยง และมีนโยบาย การลงทุนในตราสารที่มีสัญญาซื้อขายล่วงหน้าแฝง ทาให้กองทุนรวมนี้มีความเสี่ยงมากกว่ากองทุนรวมอื่นที่ลงทุน ในหลักทรัพย์อ้างอิงโดยตรง เนื่องจากใช้เงินลงทุนในจำนวนที่น้อยกว่าจึงมีกำไร/ขาดทุนสูงกว่าการลงทุนในหลักทรัพย์อ้างอิงโดยตรง จึงเหมาะสมกับผู้ลงทุนที่ต้องการผลตอบแทนสูงและรับความเสี่ยงได้สูงกว่าผู้ลงทุนทั่วไป
• การลงทุนในหน่วยลงทุน มิใช่การฝากเงิน และมีความเสี่ยงของการลงทุน ผู้ลงทุนอาจได้รับเงินลงทุนคืนมากกว่าหรือน้อยกว่าเงินลงทุนเริ่มแรกก็ได้ ดังนั้น
ผู้ลงทุนควรลงทุนในกองทุนนี้ เมื่อเห็นว่าการลงทุนในกองทุนรวมนี้ เหมาะสมกับวัตถุประสงค์การลงทุนของผู้ลงทุน และผู้ลงทุนยอมรับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการลงทุนได้
• การลงทุนในหน่วยลงทุนชนิดเพื่อการออม (SSF) ผู้ลงทุนโปรดศึกษาเงื่อนไขการลงทุนในหน่วยลงทุนชนิดเพื่อการออม (SSF) ซึ่งเป็นไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 357 (พ.ศ 2563) ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร ลงวันที่ 10 มีนาคม 2563 โดยเป็นไปตามเกณฑ์กรมรรพากรกำหนด ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลในหนังสือชี้ชวน/หนังสือชี้ชวนส่วนสรุปข้อมูลสาคัญ ให้เข้าใจและควรเก็บหนังสือชี้ชวนไว้เป็นข้อมูล เพื่อใช้อ้างอิงในอนาคต และเมื่อมีข้อสงสัยให้สอบถามผู้ติดต่อกับผู้ลงทุนให้เข้าใจก่อนซื้อหน่วยลงทุน
• ในสถานการณ์ไม่ปกติ ผู้ถือหน่วยลงทุนอาจไม่สามารถขายคืนหน่วยลงทุน หรืออาจได้รับชาระค่าขายคืนหน่วยลงทุนล่าช้ากว่าระยะเวลาที่กำหนดไว้ใน หนังสือชี้ชวน
• ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลในหนังสือชี้ชวนให้เข้าใจและควรเก็บหนังสือชี้ชวนไว้เป็นข้อมูล เพื่อใช้อ้างอิงในอนาคต และเมื่อมีข้อสงสัยให้สอบถามผู้ติดต่อกับ
ผู้ลงทุนให้เข้าใจก่อนซื้อหน่วยลงทุน
• ผู้ลงทุนควรทำความเข้าใจลักษณะสินค้า(กองทุนรวม) เงื่อนไข ผลตอบแทนและความเสี่ยงก่อนตัดสินใจลงทุน
• เอกสารฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการเผยแพร่ข้อมูลเป็นการทั่วไป โดยไม่มุ่งหมายให้ถือเป็นคาเสนอหรือการเชิญชวนให้บุคคลใดทาการซื้อ และ/หรือ ขายผลิตภัณฑ์ด้านการลงทุนประเภทต่าง ๆ ตามที่ปรากฏในเอกสารฉบับนี้ และไม่ถือเป็นการให้คาปรึกษาหรือคำแนะนาเกี่ยวกับการทำธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ด้านการลงทุนของบริษัทต่าง ๆ ตามที่ระบุไว้ในเอกสารนี้แต่อย่างใด